ขนาด
ความสูงรวมหัววาล์ว
เส้นผ่าศูนย์กลาง
น้ำหนักถัง
ราคาถัง
ราคาก๊าซ
การใช้ประโยชน์ (Use)
ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต
ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตเหล็ก แก้ว,เอทธิลีนออกไซด์,เมทธานอล,อโครลื่น (Acrolein) ไทเทเนียมไดออกไซด์, ไวนิลอะซิเตท และแก๊สสังเคราะห์อื่นๆ
ใช้ผสมกับแก๊สเชื้อเพลิงอื่นเช่น อะเซททิลีน
ไฮโดรเจนซึ่งใช้สําหรับงาน เชื่อม…
งานทําความสะอาดโดยใช้เปลวไฟ ออกซิเจนสามารถใช้ในการเร่งปฏิกิริยาการ เติมอากาศ และใช้ในการบําบัดน้ำเสีย..
ออกซิเจนที่บริสุทธิ์ใช้ในห้อง ปฏิบัติการเคมี กระบวนการผลิตและในเครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์โลหะ มีการใช้ในเรื่องของ เครื่องช่วยหายใจ.. ทั้งในที่สูงและใต้น้ำ รวมทั้งด้านการแพทย์และยังมั่นใจในคุณภาพได้ เพราะ บริษัท อ๊อกซิเทค มี โรงงาน บรรจุ ก๊าซออกซิเจน เอง และเรายังเป็น บริษัท ขายแก๊ส อุตสาหกรรม ที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และยังเป็นตัวแทนที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ ของ บริษัท ลินเด้ ประเทศไทย จำกัด
ข้อมูลด้านอัคคีภัยและการระเบิด
(Fire and Explosion Hazard Data)
“ข้อมูลเกี่ยวกับอันตรายต่อสุขภาพ”
(Health Hazard Data)
อันตรายต่อสุขภาพ (Health Effects)
อันตรายเฉียบพลัน (Acute)
การสัมผัส ออกซิเจน ที่มีความเข้มข้นมากกว่า 80% ในระยะเวลา 2-3 ชั่วโมง รวมทั้งที่ความเข้มข้นมากกว่า 50%ใน ระยะเวลา 24 ชั่วโมงไม่มีผลต่อสุขภาพ
ออกซิเจน ที่ความดันมากกว่า 1 บรรยากาศมีผลกระทบทางด้านความเป็นพิษ (Hyperoxia) ซึ่งจะปรากฏ หลังจากที่สัมผัสประมาณ 2-6 ชั่วโมง
ระบบหายใจและระบบประสาทส่วนกลางจะเกิดผลกระทบเป็นอย่างแรก
อาการแสดง : พิษต่อปอด แน่นหน้าอก บาดเจ็บจากการไหม้
ไอหอบ Hyperoxia : ตะคริว คลื่นไส้เวียนศีรษะและอาจเสียชีวิต
อาการเรื้อรัง (Chronic)
จะทําให้เกิดเนื้อเยื่อ (Living Tissues) มีความหนาขึ้น
และเป็นแผลอย่างรุนแรงในเนื้อเยื่อ
เมื่อเข้าตา เปิดเปลือกตา ห้ามล้างตาด้วยน้ำทุกชนิด แล้วไปพบแพทย์ทันที
เมื่อถูกผิวหนัง ล้างด้วยน้ำอุ่น ถ้าไม่มีใช้น้ำจากก๊อก ประมาณ 15-30 นาที ใช้ผ้าที่สะอาดพันแผล รักษาเช่นเดียวกับแผลไหม้ แล้วไปพบแพทย์ ทันที
ถ้า อุณหภูมิร่างกายต่ำมาก เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่อบอุ่น ห่มผ้า
ห้ามสัมผัสความร้อนโดยตรง!!
ก๊าซออกซิเจน ทางการแพทย์ , ก๊าซออกซิเจน อุตสาหกรรม , ก๊าซอะเซทิลีน ,
ก๊าซอาร์กอน , ก๊าซไนโตรเจน , ก๊าซฮีเลียม ฯลฯ
Automated page speed optimizations for fast site performance